ห้องเพลงที่ใช้บันทึก
๑ . หนึ่งบรรทัดมี แปด ห้องเพลง
– – – –
|
– – – –
|
– – – –
|
– – – –
|
– – – –
|
– – – –
|
– – – –
|
– – – –
|
๒. หนึ่งห้องเพลง มี สี่ตัวโน้ต (ขั้นพื้นฐาน)
๑ ๒ ๓ ๔
|
๑ ๒ ๓ ๔
|
๑ ๒ ๓ ๔
|
๑ ๒ ๓ ๔
|
๑ ๒ ๓ ๔
|
๑ ๒ ๓ ๔
|
๑ ๒ ๓ ๔
|
๑ ๒ ๓ ๔
|
๓ . ใช้เส้นน้อยแทน ตัวโน้ตในห้อง
– – – –
|
– – – –
|
– – – –
|
– – – –
|
– – – –
|
– – – –
|
– – – –
|
– – – –
|
* โน้ตใน ๑ ห้องเพลงสามารถมีมากกว่า ๔ ตัวโน้ตได้ เป็นการอ่านโน้ตในระดับสูงขึ้น *
เทคนิคการอ่านโน้ตของดนตรีไทย
๑ เคาะจังหวะสามัญ (จังหวะอย่างสม่ำเสมอ แบบ ช้า )
๒ ตัวโน้ตที่ ๔ ของห้องจะอ่านพร้อมจังหวะเคาะ
การอ่านโน้ตแบบต่างๆ
ตัวโน้ต จบพร้อมจังหวะ
– – – ดฺ
|
– – – รฺ
|
– – – มฺ
|
– – – ฟ
|
– – – ซ
|
– – – ล
|
– – – ทํ
|
– – – ดํ
|
แบบ ๑ ตัวโน้ตจบก่อนจังหวะ (ลักจังหวะ)
ดฺ – – –
|
รฺ – – –
|
มฺ – – –
|
ฟ – – –
|
ซ – – –
|
ล – – –
|
ทํ – – –
|
ดํ – – –
|
แบบ๒ ตัวโน้ต จบพร้อมจังหวะ
– ดฺ – ร
|
– ม – ฟ
|
– ซ – ล
|
– ท – ดํ
|
– ดํ – ท
|
– ล – ซ
|
– ฟ – ม
|
– ร – ดฺ
|
– ดฺ ร –
|
– ม ฟ –
|
– ซ ล –
|
– ท ดํ –
|
– ดํ ท –
|
– ล ซ –
|
– ฟ ม –
|
– ร ดฺ –
|
แบบ๒ ตัวโน้ตจบก่อนจังหวะ (ลักจังหวะ)
ดฺ ดฺ – –
|
ร ร – –
|
ม ม – –
|
ฟ ฟ – –
|
ซ ซ – –
|
ล ล – –
|
ท ท – –
|
ดํ ดํ – –
|
แบบ๒ ตัวโน้ตจบก่อนจังหวะ (ลักจังหวะ)
– – ดฺ ดฺ
|
– – ร ร
|
– – ม ม
|
– – ฟ ฟ
|
– – ซ ซ
|
– – ล ล
|
– – ท ท
|
– – ดํ ดํ
|
แบบ๒ ตัวโน้ตจบพร้อมจังหวะ
แบบ ๓ ตัวโน้ตจบพร้อมจังหวะ
– ดฺ ร ม
|
– ร ม ฟ
|
– ม ฟ ซ
|
– ฟ ซ ล
|
– ซ ล ท
|
– ล ท ดํ
|
– ท ดํ รํ
|
– ดํ รํ มํ
|
มํ รํ ดํ –
|
รํ ดํ ท –
|
ดํ ท ล –
|
ท ล ซ –
|
ล ซ ฟ –
|
ซ ฟ ม –
|
ฟ ม ร –
|
ม ร ดฺ –
|
แบบ ๓ ตัวโน้ตจบก่อนจังหวะ (ลักจังหวะ)
ดฺ – ร ม
|
ร – ม ฟ
|
ม – ฟ ซ
|
ฟ – ซ ล
|
ซ – ล ท
|
ล – ท ดํ
|
ท – ดํ รํ
|
ดํ – รํ มํ
|
แบบ ๓ ตัวโน้ตจบพร้อมจังหวะ
มํ รํ – ดํ
|
รํ ดํ – ท
|
ดํ ท – ล
|
ท ล – ซ
|
ล ซ – ฟ
|
ซ ฟ – ม
|
ฟ ม – ร
|
ม ร – ดฺ
|
แบบ ๓ ตัวโน้ตจบพร้อมจังหวะ
ดฺ ร ม ฟ
|
ซ ล ท ดํ
|
ดํ ท ล ซ
|
ฟ ม ร ดฺ
|
ดฺ ร ม ฟ
|
ซ ล ท ดํ
|
ดํ ท ล ซ
|
ฟ ม ร ดฺ
|
แบบ๔ ตัวโน้ต จบพร้อมจังหวะ
ในแต่ละเพลงไม่อาจมีการจัดเรียงโน้ตในลักษณะเดียวกันตลอดทั้งเพลง ดังนั้นการ
ประพันธ์เพลงแต่ละเพลง จึงประกอบไปด้วยการจัดเรียงกลุ่มโน้ตที่ผสมผสานในลักษณะต่างกัน
จึงสามารถสร้างอรรถรสของเสียงให้มีความหลากหลาย ดังตัวอย่างเพลง "ลาวดวงเดือน"
ท่อนทีี่๑เที่ยวแรก ดังนี้
ประพันธ์เพลงแต่ละเพลง จึงประกอบไปด้วยการจัดเรียงกลุ่มโน้ตที่ผสมผสานในลักษณะต่างกัน
จึงสามารถสร้างอรรถรสของเสียงให้มีความหลากหลาย ดังตัวอย่างเพลง "ลาวดวงเดือน"
ท่อนทีี่๑เที่ยวแรก ดังนี้

ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น